My Engagements.

 

Academic/Professional Engagement.

Editorial Board member of Engaging Science, Technology, and Society (ESTS) (2021-present)

Lead Partner, Global Centre of Spatial Methods for Urban Sustainability (GCSMUS), Technische Universität Berlin (2020-present)

Co-Founder and Former Director of Politics and Global Studies (PGS) program, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University (2019-2021)

Founding Member and Committee, Siamese Association of Sociologists and Anthropologists (SASA)

Former Director, The Master of Arts in International Development Studies Program (MAIDS), Faculty of Political Science, Chulalongkorn University (2018-2019)

Member, Environmental Infrastructures Project: Comparative Ethnographic Study on Nature, Technology and Environmental Change

Member, The International Union of Anthropological and Ethnological Sciences (IUAES)

Visiting Fellow, The Institute for East Asian Studies at Sogang University (SIEAS), Seoul, South Korea (Sept 2014 - Feb 2015)

 

 

Media / Public Engagement.

“จักรกริช สังขมณี” มานุษยวิทยามหาสมุทร ถอดรหัสมนุษย์ในระบบนิเวศใต้ทะเล ใน National Geographic Thailand

คอลัมน์ “ชาติพันธุ์ฮันกุก” ใน the101.world

“ความรู้ (ไม่) ใหม่ ใน มานุษยวิทยา: ฉบับพกพา โดย สำนักพิมพ์ Bookscape ร่วมกับ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (25 กันยายน 2564)

101 (mid)night round: “อนาคตมานุษยวิทยา-มานุษยวิทยาอนาคต” วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม 2564 ทาง Clubhouse

“มานุษยวิทยากับการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโลกดิจิทัล” ใน ซีรีส์ “สังคมไทยผ่านการศึกษาของนักมานุษยวิทยา” จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (22 กุมภาพันธ์ 2564)

“สามัญชน กับ ประวัติศาสตร์นิพนธ์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเกาหลีใต้” งานเสวนาออนไลน์หัวข้อเรื่อง 88 ปี 2475: จากราชดำเนินถึงกวางจู : สามัญชนกับการเปลี่ยนแปลง จัดโดย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ สถาบันปรีดี พนมยงค์ (24 มิถุนายน 2563)

“กระเบนราหู (Manta Ray) x จักรกริช สังขมณี: มองหนังด้วยสายตานักมานุษยวิทยา” โครงการภาพยนตร์มานุษยวิทยา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

“อุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลีใต้ เติบโตพร้อมกับการสร้างประชาธิปไตย” ใน The Matter (24 เมษายน 2563)

“ขายวัฒนธรรมอย่างไร ให้ได้เหมือนเกาหลี” ใน SHIFTER (9 กุมภาพันธ์ 2563)

“เคลื่อนตัวตนให้ก้าวออกจาก comfort zone สู่พื้นที่ใหม่ไร้เขตแดนแห่งพลเมืองโลก” ใน a day Bulletin (4 กุมภาพันธ์ 2563)

“รัฐวิศวกรรมและมรดกจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในงานเสวนา ‘มองรัฐไทยในมิติสังคมศาสตร์’ ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (26 เมษายน 2562)

“ทบทวนการพัฒนาด้วยชาติพันธุ์นิพนธ์ของ David Mosse”, ซีรีส์สัมมนาชุด “ขยับ เขย่า แนวคิดการพัฒนา: วิเคราะห์วิพากษ์การพัฒนาจากมุมมองของนักคิดร่วมสมัย” ร่วมจัดโดย ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม (CRISP) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (11 กุมภาพันธ์ 2562)

“องค์ความรู้ของมานุษยวิทยาไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 21” ในการประชุมเครือข่ายมานุษยวิทยาไทย ครั้งที่ 1 มานุษยวิทยาไทยในโลกวิชาการและสาธารณะ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (9 มิถุนายน 2561)

101 One-On-One Ep.30 | “อ่านเกาหลี ผ่าน K-pop” กับ จักรกริช สังขมณี (28 พฤษภาคม 2561) และ อ่านเกาหลีผ่านวัฒนธรรมบันเทิงร่วมสมัย กับ จักรกริช สังขมณี

 

Liminality of Missing Mass: A reflection on Tanatchai Bandasak’s exhibition A NEW CAVE

Bangkok CityCity Gallery, Saturday March 9, 2024

 

Society in Perspective: มานุษยวิทยามหาสมุทรกับการพัฒนาที่ยั่งยืน

จัดทำโดย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

What can humans learn from coral and underwater symbiosis? / มนุษย์สามารถเรียนรู้อะไรจากปะการังและการอยู่ร่วมกันใต้น้ำ? TEDxChiangMai, February 17, 2024

 
 

บรรยายวิชาการออนไลน์ Fieldwork Story EP.12
หัวข้อ วรรณกรรมในสนามและสนามในวรรณกรรม

วันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน 2566 โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

 
 

บรรยายวิชาการออนไลน์ Fieldwork Story EP.10
หัวข้อ ที่ไหนคืออย่างไร ว่าด้วยภววิทยาของ "งานภาคสนาม"

วันพฤหัสบดีที่ 8 มิถุนายน 2566 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

 

 

“มานุษยวิทยาหลังมนุษยนิยมกับบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์: อ่าน The Windup Girl ของ Paolo Bacigalupi” จัดโดย ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

“มานุษยวิทยาหลังมนุษยนิยม กับ Science/Climate Fiction” จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (17 ก.พ. 2565)

 
 

“มานุษยวิทยาอนาคต กับ การศึกษาความหวัง” เผยแพร่โดย echo (28 ธ.ค. 2564)

 
 

“มานุษยวิทยากับการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโลกดิจิทัล” ใน ซีรีส์ “สังคมไทยผ่านการศึกษาของนักมานุษยวิทยา” จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (22 ก.พ. 2564)

 
 

“กระเบนราหู (Manta Ray) x จักรกริช สังขมณี: มองหนังด้วยสายตานักมานุษยวิทยา” โครงการภาพยนตร์มานุษยวิทยา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (2563)

 
 

“ทบทวนการพัฒนาด้วยชาติพันธุ์นิพนธ์ของ David Mosse” ซีรีส์สัมมนาชุด “ขยับ เขย่า แนวคิดการพัฒนา: วิเคราะห์วิพากษ์การพัฒนาจากมุมมองของนักคิดร่วมสมัย” ร่วมจัดโดย ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม (CRISP) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (11 กุมภาพันธ์ 2562)

 
 

“องค์ความรู้ของมานุษยวิทยาไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 21” ในการประชุมเครือข่ายมานุษยวิทยาไทย ครั้งที่ 1 มานุษยวิทยาไทยในโลกวิชาการและสาธารณะ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (9 มิถุนายน 2561)

 
 

“ขายวัฒนธรรมอย่างไร ให้ได้เหมือนเกาหลี” ใน SHIFTER (9 กุมภาพันธ์ 2563)

 
 

"TechnoScience and Post-truth Deconstruct" TCIJ School Season 4 จัดโดยโรงเรียนนักข่าว TCIJ (2560)